top of page

คู่มือการจัดการ COVID-19สถานประกอบกิจการ.

Coronavirus Disease (COVID-19) in Italy :  Analysis of Risk Factors and Proposed Remedial Measures

          Until March 28, 2020, there were ∼90,000 confirmed cases of coronavirus disease (COVID-19) in Italy, with 26,000 in-patients, 3,800 patients in intensive care units (ICUs), 40,000 positive in home
isolation, and 10,000 deaths, according to the Italian Civil Protection bulletin1
. Italy currently has
the highest COVID-19 mortality rate worldwide, even compared to the People’s Republic of China
where the number of COVID-19 deaths totaled over 3,000 cases, including potential re-infections.
Globally, there are ∼570,000 cases and 26,000 deaths due to COVID-19. According to the World
Health Organization (WHO) as of March 28, 2020, the number of COVID-19 positive cases in Spain is increasing, with 64,000 infected cases and 5,000 deaths.

สรุปการประชุมเฝ้าระวังสถานการณ์ COVID-19 (Teteconference)

สรุปบทวิเคราะห์ COVID-19 ของ McKinsey & Company

          จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ที่แพร่กระจายไปในทุกทวีปทั่วโลก ซึ่งทำให้มีผู้ติดเชื้อมากกว่า 1 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 50,000 คนนั้น (ข้อมูล ณ วันที่ 3 เมษายน 2563)ทำให้ระบบการสาธารณสุขในประเทศต่างๆ อาจเกิดสภาวะที่ไม่สามารถรองรับผู้ป่วยทั้งหมดได้ เพื่อเป็นการชะลอการเพิ่มจำนวนของผู้ติดเชื้อที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ ไ ด้กำหนดมาตรการที่หลากหลาย มีการเพิ่มระดับความเข้มข้นของการเว้นระยะห ่างทางสังคม (Social Distancing) ที่สูงขึ้นเรื่อยๆมาตรการจากภาครัฐเหล่านี้ส่งผลให้อุปสงค์ (Demand) ในภาคการบริโภคของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ลดต่ำลงจนถึงขั้นวิกฤตในบางประเทศ

วิธีทำความสะอาด Mask N-95

การบริหารจัดการ MASK คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล

ขั้นตอนและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บและนำส่งสิ่งส่งตรวจ COVID-19

Cr. การอบรมเชิงปฏิบัติการ

เรื่อง การเก็บสิ่งส่งตรวจสำหรับ

โควิด19 Nasopharyngeal Swab โดย ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา และฝ่ายชันสูตรโรคกลางและธนาคารเลือด เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2563

COVID-19: Good Practice for Surgeons and Surgical Teams.

Compassionate Use of Remdesivir for Patients with Severe Covid-19

          Remdesivir, a nucleotide analogue prodrug that inhibits viral RNA polymerases, has shown in vitro activity against SARS-CoV-2.

สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)

ชี้แจงหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการจ่ายการดูแลผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

หัวข้อนำเสนอ

1.การให้บริการตรวจคัดกรองและตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการติดเชื้อโรค Covid-19 

2.การให้บริการสาธารณสุข ให้แก่ผู้ป่วยที่มีสิทธิ UC 

   2.1 หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

   2.2 ค่าบริหารจัดการด้านยาหรือเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 

   2.3 สถานบริการอื่น นอกระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

3) การให้บริการสาธารณสุข ให้แก่ผู้ป่วยที่มีสิทธิอื่น

ประกาศจากกรมการแพทย์ เรื่องแนวทางปฏิบัติการทำหัตถการผ่าตัดสถานการณ์ COVID-19

          เนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศ COVID-19 ให้เป็นโรคติดต่ออันตรายตาม พระราชบัญญัติ

โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อรองรับปัญหาที่จะเกิดขึ้นและเป็นการรักษาความมั่นคง ระบบสาธารณสุขของประเทศไทย โดยราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ แห่ประเทศไทย

ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย สภาการพยาบาล

สมาคมพยาบาลห้องผ่าตัดแห่งประเทศไทย และกรมการแพทย์มีความเห็นร่วมกันในการออกมาตรการ การใช้ห้องผ่าตัดเป็นมาตรการชั่วคราวจนกว่าสถานการณ์จะเปลี่ยน หรือมีประกาศเปลี่ยนแปลงจากกระทรวงสาธารณสุข โดยมีมติเห็นชอบร่วมกัน ดังนี้

Anosmia & COVID

1.หากมีคนไข้มาตรวจเรื่องจมูกไม่ได้กลิ่นหรือการรับรสไม่ดีในช่วงนี้จะมีการตรวจพิเศษเรื่องการรับกลิ่นหรือ          การรับรสได้อย่างไรบ้าง หรือฟังอาการอย่างเดียว

2. เคสไหนควรจะแนะนําให้ตรวจโควิด

3. ทางกระทรวงจัดให้อยู่ในเกณฑ์ตรวจฟรีด้วยหรือยัง

4. การรับกลิ่นรับรสได้ไม่ดี น่าจะมีสาเหตุจากอะไร

5. เมื่อหายจากโควิด อาการรับกลิ่นรับรสจะกลับมาได้หรือเปล่า

Olfactory and gustatory dysfunctions as a clinical presentation of mild‐to‐moderate forms of the coronavirus disease (COVID‐19): a multicenter European study

          To investigate the occurrence of olfactory and gustatory dysfunctions in patients with laboratory-confrmed COVID-19 infection.

ฉบับปรับปรุง วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2563 สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข

แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

1) ผู้ป่วยที่มีประวัติไข้หรือวัดอุณหภูมิได้ตั้งแต่ 37.5°C ขึ้นไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใด

    อย่างหนึ่ง (ไอ น้ ามูก เจ็บคอ หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือหายใจลำบาก) และมีประวัติในช่วง 14 วัน

    ก่อนวันเริ่มมีอาการ คือ
    ก) มีประวัติเดินทางไปยัง หรือมาจาก พื้นทีหรืออยู่อาศัยในพื้นที่เกิดโรคระบาดต่อเนื่องของ
COVID-19* หรือ
    ข) เป็นผู้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยว สถานที่แออัด หรือติดต่อกับคนจำนวนมาก หรือ
    ค) สัมผัสกับผู้ป่วยยืนยัน หรือสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยสงสัยหรือยืนยัน COVID-19              โดยไม่ได้ใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่เหมาะสม** หรือ
    ง) มีประวัติไปในสถานที่ที่ชุมชน หรือสถานที่ที่มีการรวมกลุ่มคน เช่น ตลาดนัด ห้างสรรพสินค้า

        สถานพยาบาลขนส่ง สาธารณะ หรือ ตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดประกาศ**

bottom of page