top of page

TRC Interim Resuscitation Guidance for Healthcare Providers during COVID-19 Outbreak

วัตถุประสงค์ :
     ➤ เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วย Cardiac Arrest ทั้งที่ได้รับการวินิจฉัย หรือสงสัยว่ามีการติดเชื้อ COVID-19
สามารถกระทำได้อย่างรวดเร็ว โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์

คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19

          เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ และ โรคโควิด-19 คืออะไร...เชื้อไวรัสโคโรนา เป็นกลุ่มสายพันธุ์ที่มีความหลากหลายซึ่งรวมถึงเชื้อไวรัสหลายๆชนิด พวกมันเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้หวัด และอาจจะทำให้เกิดอาการป่วยที่รุนแรง จนกระทั่งเสียชีวิตได้โดยโรคเมอร์สและโรคซาร์สที่เคยมีการแพร่ระบาดก็มีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัสโคโรนา เช่นเดียวกัน

ประกาศจากกรมการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม

          ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสําคัญ ของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓ ให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019

(COVID-19)) เป็นโรคติดต่ออันตราย ดังนั้น คณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติ ประกันสังคม จึงได้กําหนด

หลักเกณฑ์ และอัตราค่าบริการทางการแพทย์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COMD-19)) เพื่อให้ผู้ประตนได้รับบริการทางการแพทย์กรณีโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ

โรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) 

รีวิววิธี REUSE หน้ากากอนามัย & N-95

หน้ากากอนามัยในยุค COVID-19
     ➤ ในสถานการณ์โรคระบาดที่รุนแรงขึ้น ทรัพยากรก็จะน้อยลงเรื่อยๆ สุดท้ายบุคลากรสาธารณสุขทั้ง
หลายก็อาจจะต้องนำหน้ากากอนามัยมาใช้ซ้ำ
     ➤ คำถามคือ เราจะสามารถทำอย่างไรที่จะช่วยประหยัดทรัพยากรและยืดระยะเวลาการใช้งานหน้ากากให้นานที่สุด

Decontamination and Reuse of N95 Respirators with Hydrogen Peroxide Vapor to Address Worldwide Personal Protective Equipment Shortages During the SARS‐CoV‐2 (COVID‐19) Pandemic

แนวทางการจัดทำ Cohort ward

เพื่อใช้เป็นพื้นที่รักษาผู้ป่วยติดเชื้อที่ยืนยันผลการตรวจแล้วเท่านั้น
     1. ลักษณะการติดตั้งระบบปรับอากาศและระบายอากาศของ Cohort ward กรณีที่ 1) กรณีที่มีระบบระบายอากาศและระบบเติมอากาศทำความเย็นแบบ Fresh Air 100% (รายละเอียดตามแบบแนบ) จะต้องจัดให้มีระบบระบายอากาศ โดยมีอัตราการระบายอากาศ ≥ 12 เท่าของปริมาตรห้องต่อชั่วโมง โดยระบายอากาศจากบริเวณใกล้ผู้ป่วยออกสู่ภายนอก และจุดปล่อยลมทิ้งต้องห่างจากหน้าต่าง หรือบุคคลต่างๆ ไม่น้อยกว่า 8 เมตร หากมีระยะน้อยกว่า 8 เมตร ลมระบายทิ้งจะต้องกรองด้วย HEPA Filter โดยติดตั้งแผงควบคุมของเครื่องปรับอากาศและระบบระบายอากาศไว้บริเวณด้านหน้าทางเข้า Cohort ward หรือใน Nurse station การจ่ายลมของเครื่องปรับอากาศควรจ่ายบริเวณทางเดินท้ายเตียงผู้ป่วยและควรเลือกหัวจ่ายลมชนิดที่กระแสลมไม่เป่าใส่ผู้ป่วยโดยตรง

คำถำมที่พบบ่อยCOVID -19 กับสตรีตั้งครรภ์

COVID-19 ผู้ป่วย COVID-19สะสม ประเทศไทย ถึงวันที่ 24 มีนาคม 2563

ข้อแนะนำแนวปฏิบัติกำรป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ กรณี โรคโคโรนำไวรัสสำยพันธุ์ใหม่ 2019

( Novel Corona virus: nCoV )

          ข้อแนะนาแนวปฏิบัติการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ กรณีโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 (Novel Corona virus: nCoV) จัดทาขึ้น โดยการรวบรวมองค์ความรู้ และนาประสบการณ์การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดต่อทางเดินหายใจตามภารกิจหลักสาคัญของสถาบันบาราศนราดูร และภารกิจการดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) ตามโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System) ของ Emergency Operation Center กรมควบคุมโรค จัดทาโดยสำนักงำนป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อและเชื้อดื้อยำในโรงพยำบำล สถำบันบำรำศนรำดูร

ฉบับปรับปรุง วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2563 สาหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข

แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

1. ผู้ป่วยที่มีประวัติไข้หรือวัดอุณหภูมิได้ตั้งแต่ 37.5°C ขึ้นไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใด

อย่างหนึ่ง (ไอ น้ามูก เจ็บคอ หายใจเร็ว หรือหายใจเหนื่อย หรือหายใจลาบาก) และมีประวัติในช่วง 14 วัน

ก่อนวันเริ่มมีอาการ คือ
     ก. มีการเดินทางไปหรือมาจากประเทศ หรือ อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีการรายงานการระบาดต่อเนื่อของ

COVID-19* หรือ
     ข. เป็นผู้ประกอบอาชีพที่สัมผัสใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวที่มาจากพื้นที่ที่มีรายงานการระบาดต่อเนื่องของ COVID-19* หรือ
     ค. มีประวัติใกล้ชิดหรือสัมผัสเสี่ยงสูง** กับผู้ป่วยยืนยัน COVID-19 ตามแนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรค
     ง. เป็นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสกับผู้ป่วยยืนยัน หรือสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยสงสัยหรือยืนยัน COVID-19 โดยไม่ได้ใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่เหมาะสม
     จ. มีประวัติไปในสถานที่ที่ประชาชนหนาแน่นที่พบผู้ป่วยยืนยันในช่วงเวลาเดียวกันตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดประกาศ

Planning and provision of ECMO services for severe ARDS during the COVID-19 pandemic and other outbreaks of emerging infectious diseases.

          WHO interim guidelines recommend offering extracorporeal membrane oxygenation (ECMO) to eligible patients with acute respiratory distress syndrome (ARDS) related to coronavirus disease 2019 (COVID-19). The number of patients with COVID-19 infection who might develop severe ARDS that is refractory to maximal medical management and require this level of support is currently unknown.

          In The Lancet Respiratory Medicine, Kollengode Ramanathan and colleagues1 provide excellent recommendations for the use of extracorporeal membrane oxygenation (ECMO) for patients with respiratory failure from acute respiratory distress syndrome (ARDS) secondary to coronavirus disease 2019 (COVID-19)

          In The Lancet Respiratory Medicine, Kollengode Ramanathan and colleagues1 provide excellent recommendations for the use of extracorporeal membrane oxygenation (ECMO) for patients with respiratory failure from acute respiratory distress syndrome (ARDS) secondary to coronavirus disease 2019 (COVID-19)

          On March 12th 2020 the World Health Organization (WHO) officially announced the COVID-19 outbreak a pandemic, where to date there have been over 300,000 cases resulting in 13,000 deaths worldwide.1 The COVID-19 pandemic is accelerating within the United States, and any information that we can garner from the experiences of our international colleagues who have already experienced this, or are currently going through it, should be utilized to protect our patients, our hospital teams and ourselves.

โรคโควิด-19 การติดเชื้อ การป่วย การดูแลรักษา การป้องกันการแพร่เชื้อและการติดเชื้อ

bottom of page